หนังสือภายนอก
|
หนังสือภายใน
|
บันทึก
|
1. ติดต่อระหว่างกระทรวงหรือ
ติดต่อกับหน่วยงาน , บุคคลอื่น |
1. ติดต่อระหว่างกรมหรือเทียบเท่าในสังกัดกระทรวงเดียวกัน
|
1. ติดต่อภายในกรมเดียวกัน
|
2. ผู้ลงนามเป็นหัวหน้าส่วน
ราชการระดับกระทรวง หรือ ผู้ได้รับมอบหมาย |
2. ผู้ลงนามเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม หรือผู้ได้รับมอบหมาย
|
2. หัวหน้าส่วนราชการหรือ เจ้าหน้าที่ก็สามารถลงนามได้
|
3. ใช้รูปแบบหนังสือภายนอก
ใช้กระดาษครุฑ มีเรื่อง เรียน และอ้างถึง สิ่งที่ส่งมาด้วย (ถ้ามี) |
3. ใช้รูปแบบหนังสือภายใน ใช้กระดาษบันทึกข้อความ มีเฉพาะเรื่องกับเรียน
|
3. ใช้กระดาษบันทึกข้อความ หรือ
กระดาษอื่นก็ได้ อาจไม่มีเรื่องก็ได้ |
4. เป็นพิธีการเต็มรูปแบบ
ออกเลขที่ทุกครั้ง |
4. เป็นทางการ ออกเลขที่ แต่เป็นพิธีการน้อยกว่า
|
4. เป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ
ก็ได้ ออกเลขที่ภายใน หรือไม่มีเลขที่ก็ได้ |
5. ต้องพิมพ์ให้เรียบร้อย
|
5. ต้องพิมพ์ให้เรียบร้อย
|
5. พิมพ์หรือเขียนด้วยลายมือก็ได้
|
6. มีสำเนาคู่ฉบับและสำเนา
ครบถ้วน |
6. มีสำเนาคู่ฉบับและสำเนาครบถ้วน
|
6. อาจไม่มีสำเนาก็ได้
|
สำหรับพนักงานสอบสวนในการสอบปากคำผู้กล่าวหา พยาน และผู้ต้องหา ได้ครบประเด็นตามองค์ประกอบของความผิดในคดีต่าง ๆ
วันพฤหัสบดีที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2560
เปรียบเทียบหนังสือภายนอก หนังสือภายใน และบันทึก
จัดเรียงบทความ
ประเด็นการสอบสวน
- คดีค้ามนุษย์ (เป็นธุระจัดหาค้าประเวณี)- คดีคนต่างด้าวลักลอบเข้าเมือง
- คดีความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค
- คดีฉ้อโกงและแชร์ลูกโซ่
- คดีบัตรอิเล็กทรอนิกส์
- คดีปลอมเอกสาร
- คดีรับจำนำข้าว
- คดีหมิ่นประมาท
หนังสือติดต่อราชการ
- การเขียนรายงานหรือเรื่องนำเรียนเพื่อทราบ- หนังสือภายใน
- เปรียบเทียบหนังสือภายนอก ภายใน และบันทึก
ความรู้ที่เกี่ยวข้อง
- วิธีการทำสำนวนการสอบสวนให้ง่ายขึ้น- คำพิพากษาคดีปล่อยเงินกู้และเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)